วิธีสร้างคลื่นแสงเพื่อศึกษาอิเล็กตรอน คว้าโนเบลสาขาฟิสิกส์

คณะกรรมการรางวัลโนเบล โดยราชวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน ประกาศมอบรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปีนี้ แก่ปิแอร์ อกอสตินี (Pierre Agostini) ชาวอเมริกันเชื้อสายฝรั่งเศส เฟเรนซ์ เคราสซ์ (Ferenc Krausz) ชาวออสเตรียเชื้อสายฮังการี และอานน์ ลุยลิเยร์ (Anne L’Huillier) ชาวฝรั่งเศส จากผลงานทดลองวิธีสร้างพัลส์ (pulse) ของแสงที่ระดับ “อัตโตวินาที” (attosecond)* เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสสาร

2 นักวิทย์ผู้พัฒนา “วัคซีน mRNA” คว้ารางวัลโนเบลสาขาการแพทย์

รวมไอเดียงานวิจัยแปลกทั่วโลก "เลียก้อนหิน" คว้ารางวัลอิกโนเบล 2023

เจ้าของรางวัลโนเบลที่มีอายุมากที่สุดในโลก เสียชีวิตแล้ว

โดยคณะกรรมการฯ ระบุว่า นักฟิสิกส์ 3 ท่านนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงวิธีสร้างพัลส์ หรือคลื่นของแสงที่มีช่วงคลื่นสั้นมากๆ ในระดับอัตโตวินาที ซึ่งสามารถใช้ในการตรวจวัดกระบวนการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างรวดเร็ว ซึ่งช่วยให้มนุษยชาติมีเครื่องมือใหม่ในการศึกษาโลกของอิเล็กตรอนที่อยู่ในอะตอมและโมเลกุล ในแบบที่ไม่เคยทำได้มาก่อน

ผู้ได้รับรางวัลทั้งสามจะแบ่งเงินรางวัล 11 ล้านโครนาสวีเดน หรือประมาณ 37 ล้านบาท พร้อมเหรียญทองคำ และใบประกาศซึ่งออกแบบโดยศิลปินชาวนอร์เวย์

ส่วนรางวัลโนเบลสาขาต่อไปที่จะประกาศช่วงเย็นวันนี้ตามเวลาประเทศไทย คือ สาขาเคมี

รางวัลโนเบลก่อตั้งขึ้นในปี 1895 ตามความตั้งใจของอัลเฟรด โนเบล นักธุรกิจและนักประดิษฐ์ชาวสวีเดน โดยเริ่มมอบรางวัลครั้งแรกในปี 1901 ในสาขาฟิสิกส์ เคมี การแพทย์ วรรณกรรม และสันติภาพ ก่อนจะเพิ่มสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี 1968

ค้นบ้านเด็กก่อเหตุยิงกลางพารากอน พบปืนบีบีกัน-กระสุนเพียบ! คำพูดจาก เว็บสล็อต มาแรงอันดับ 1

ค่าเงินบาทวันนี้ เปิดตลาดอ่อนค่าลงอีก 37.11 จากดอลลาร์แข็ง-ฟันด์โฟลว์ไหลออก

เว็บบล็อกเผย "LINE" นิยมใช้เพียง 3 ประเทศทั่วโลกเท่านั้น